Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > คอมบินาทอริก
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 13 พฤศจิกายน 2009, 12:20
Jew's Avatar
Jew Jew ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 357
Jew is on a distinguished road
Default คอมบิครับ

คือผมไม่รู้ว่าโจทย์นี้พิสูจน์อย่างไรแต่คิดว่าน่าจะเป้นคอมบิ
แต่ใครจะใช้พีชหรือ number ก้ไม่ว่าครับ
จงแสดงว่า $\frac{(2m)!(2n)!}{n!m!(m+n)!}$ เป็นจำนวนเต็ม
__________________
สัมหรับคณิตศาสตร์
ผมไม่มีแม้ซึ่งพรสวรรค์ไม่มีแม้โอกาสด้วยอยุ่ต่างจังหวัด
จะมีก็แต่ความรักที่ทุ่มเท....
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 13 พฤศจิกายน 2009, 14:34
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Default

ข้อนี้เป็นIMO 1972ครับ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 28 พฤศจิกายน 2009, 20:31
Jew's Avatar
Jew Jew ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 357
Jew is on a distinguished road
Default

จงแสดงว่า $\binom{p}{r}\equiv 0 \pmod{p}$
เมื่อ $p$ เป็นจำนวนเฉพาะและ$r$สอดคล้องกับเงื่อนไข $0\leqslant r\leqslant p-1$
รบกวนต่อด้วยนะครับ
__________________
สัมหรับคณิตศาสตร์
ผมไม่มีแม้ซึ่งพรสวรรค์ไม่มีแม้โอกาสด้วยอยุ่ต่างจังหวัด
จะมีก็แต่ความรักที่ทุ่มเท....

28 พฤศจิกายน 2009 20:31 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Jew
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 29 พฤศจิกายน 2009, 20:01
Jew's Avatar
Jew Jew ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 357
Jew is on a distinguished road
Default

มาให้ช่วยอีกข้อแล้วครับ
นั่งคืดตึ้งแต่เมื่อคืนวานครับ
จงหาค่าของ
$\binom{n}{0}+\binom{n}{3}+\binom{n}{6}+\cdots+\binom{n}{3k}$
เมื่อ k เป็นจำนวนเต็มบวกและ $3k\leqslant n$
__________________
สัมหรับคณิตศาสตร์
ผมไม่มีแม้ซึ่งพรสวรรค์ไม่มีแม้โอกาสด้วยอยุ่ต่างจังหวัด
จะมีก็แต่ความรักที่ทุ่มเท....

30 พฤศจิกายน 2009 09:14 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum
เหตุผล: code fixed
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 02 ธันวาคม 2009, 16:07
Jew's Avatar
Jew Jew ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 357
Jew is on a distinguished road
Default

ข้อข้างบนได้แล้วครับ
รบกวนอธิบายเกี่ยวกับฟังก์ชั่นหนึ่งต่อหนึ่งที่ใช้ในการแก้โจทย์คอมบิหน่อยได้ไหมครับ
ขอบคุณมากครับ
__________________
สัมหรับคณิตศาสตร์
ผมไม่มีแม้ซึ่งพรสวรรค์ไม่มีแม้โอกาสด้วยอยุ่ต่างจังหวัด
จะมีก็แต่ความรักที่ทุ่มเท....

02 ธันวาคม 2009 16:27 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Jew
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 02 ธันวาคม 2009, 16:26
★★★☆☆ ★★★☆☆ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 247
★★★☆☆ is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Jew View Post
มาให้ช่วยอีกข้อแล้วครับ
นั่งคืดตึ้งแต่เมื่อคืนวานครับ
จงหาค่าของ
$\binom{n}{0}+\binom{n}{3}+\binom{n}{6}+\cdots+\binom{n}{3k}$
เมื่อ k เป็นจำนวนเต็มบวกและ $3k\leqslant n$
ให้ $w$ แทนรากที่สามของ 1 , $w^3=1 , 1 + w + w^2 = 0$

โดยทฤษฎีบททวินาม จะได้

$(1+x)^n = \binom{n}{0} + \binom{n}{1}x + \binom{n}{2}x^2 + \binom{n}{3}x^3 + \binom{n}{4}x^4 +... (1)$

แทน $x$ ด้วย $wx$ และ $w^2x$ ตามลำดับ จะได้

$(1+wx)^n = \binom{n}{0} + \binom{n}{1}wx + \binom{n}{2}w^2x^2 + \binom{n}{3}w^3x^3 + \binom{n}{4}w^4x^4 + ... (2)$

$(1+w^2x)^n = \binom{n}{0} + \binom{n}{1}w^2x + \binom{n}{2}w^4x^2 + \binom{n}{3}w^6x^3 + \binom{n}{4}w^8x^4 + ... (3)$

(1) + (2) + (3) และแทน $x = 1$ จะได้

$\binom{n}{0} + \binom{n}{3} + \binom{n}{6} + ... = \frac{1}{3}[2^n + (1+w)^n + (1+w^2)^n] = \frac{1}{3}(2^n + 2\cos \frac{n\pi}{3})$

(พิจารณาเฉพาะส่วนจริงของจำนวนเชิงซ้อน)

02 ธันวาคม 2009 16:32 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ ★★★☆☆
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 02 ธันวาคม 2009, 16:28
Jew's Avatar
Jew Jew ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 357
Jew is on a distinguished road
Default

รบกวนขอข้อที่พิสูจน์ว่ามัน 0(modp) ด้วยครับขอบคุณครับ
__________________
สัมหรับคณิตศาสตร์
ผมไม่มีแม้ซึ่งพรสวรรค์ไม่มีแม้โอกาสด้วยอยุ่ต่างจังหวัด
จะมีก็แต่ความรักที่ทุ่มเท....

04 ธันวาคม 2009 12:51 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Jew
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 28 ธันวาคม 2009, 22:24
mamypoko mamypoko ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2009
ข้อความ: 24
mamypoko is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Jew View Post
จงแสดงว่า $\binom{p}{r}\equiv 0 \pmod{p}$
เมื่อ $p$ เป็นจำนวนเฉพาะและ$r$สอดคล้องกับเงื่อนไข $0\leqslant r\leqslant p-1$
รบกวนต่อด้วยนะครับ
ผมว่าข้อนี้ควรอยู่ในเรื่องทฤษฎีจำนวนมากกว่านะครับ
proof $จาก\binom{p}{r} = \frac{p!}{(p-r)!r!}$
$ \binom{p}{r} = \frac{p(p-1)(p-2)...(p-r+1)}{r!}$
$ \binom{p}{r}r!= p(p-1)(p-2)...(p-r+1)$
$ \binom{p}{r}r!= pa ; a = (p-1)(p-2)...(p-r+1)$
$ได้ p\left|\,\right.\binom{p}{r}r!$
$จาก (p,r!) = 1 ; pเป็นจำนวนเฉพาะ และ 0\leqslant r\leqslant p-1 $
$ได้ว่า p\left|\,\right.\binom{p}{r} $
$ \binom{p}{r}\equiv 0 \pmod{p}$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 14:34


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha